วันอังคารที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551

Italian restaurant




[Sosta - To pause] As the latest offering in North Melbourne's already buzzing dining district, Sosta Cucina creates the atmosphere for temporary cessation of all things to allow enjoyment of a simple Northern Italian inspired meal.
Owner Maurice Santucci and head chef Travis Humphery boast CV's listing Australia's finest Italian eateries.
Santucci and Humphery share Northern Italian heritage as well as a passion for "good, unpretentious European food" which is reflected through a menu that, like the design of the restaurant, is elegant yet informal.
The lunch special offers 1, 2 or 3 courses and a glass of house wine from $18 a head. The a la carte menu has offerings like "Baked fresh local sardines layered with nicola potato, fennel, raisins and pinenuts topped with golden breadcrumbs" and "Pot roasted goat leg wrapped in pancetta and stuffed with chestnuts and sage, served upon spinach".

C'est Bon Restaurant


C'est Bon French Restaurant, Port Melbourne opened it's doors to the public on Friday, September 15th, 2006 amidst much celebration. Situated at 'The Paris End' of Bay Street, quietly meeting City Road.

Owned and operated by Amélie Bonnet, daughter of renowned French Chef/Restaurateur Michel Bonnet and restaurant beauty Trisha Bonnet. Born into a family of restaurateurs, Amélie started working in restaurants before she was ten. After 5 years abroad, travelling from New York to London to Vancouver, in 2003 Amélie opened the original C'est Bon in Cairns with the help from her French father. After 3 years of sharing an office with Michel and winning Regional and State awards, such as Best European Restaurant in QLD, that long term dream of a Melbourne C'est Bon was getting closer.


C'est Bon is an inviting, classically styled restaurant with timber floorboards, Bentwood chairs and white linens... It has an intimately warm feel to it, reminiscent of French bistro interiors of New York and Paris restaurants. The menu features Michel's classical French dishes, lovingly executed by young talented French Chef Thomas Routhieau (from Nantes). It is quite unlike anything Port Melbourne has experienced in years.

Vichy


Vichy France, or the Vichy regime are the common terms used to describe the government of France from July 1940 to August 1944. This government, which succeeded the Third Republic, officially called itself the French State (L'État Français), in contrast with the previous designation, "French Republic." Marshal Philippe Pétain proclaimed the government following the military defeat of France by Nazi Germany during World War II and the vote by the National Assembly on July 10, 1940. This vote granted extraordinary powers to Pétain, the last Président du Conseil (Prime Minister) of the Third Republic, who then took the additional title Chef de l'État Français ("Chief of the French State"). Pétain headed the reactionary program of the so-called "Révolution nationale", aimed at "regenerating the Nation."


Vichy France had legal authority in both the northern zone of France, which was occupied by the German Wehrmacht, and the unoccupied southern "free zone", where the regime's administrative center of Vichy was located. The southern zone remained under Vichy control until the Allies landed in French North Africa in November 1942. Recent research by the historian Simon Kitson has shown that, in spite of extensive state collaboration, Vichy led an ultimately unsuccessful campaign to preserve the sovereignty of this southern zone by arresting German spies.
Pétain and the Vichy regime willfully collaborated with the German occupation to a high degree. The French police and the state Milice (militia) organized raids to capture Jews and others considered "undesirables" by the Germans in both the northern and southern zones.


The legitimacy of Vichy France and Pétain's leadership was challenged by General Charles de Gaulle, who claimed to instead represent the legitimacy and continuity of the French government. Following the Allies' invasion of France in Operation Overlord, de Gaulle proclaimed the Provisional Government of the French Republic (GPRF) in June, 1944. After the Liberation of Paris in August, the GPRF installed itself in Paris on August 31. The GPRF was recognized as the legitimate government of France by the Allies on October 23, 1944.


With the liberation of France in August and September, Vichy's officials and supporters moved to Sigmaringen in Germany and there established a government in exile, headed by Pétain, until April 1945. Many of the Vichy regime's prominent figures were subsequently tried by the GPRF and a number were executed. Pétain himself was sentenced to death for treason, but his sentence was commuted to life imprisonment.

เศรษฐกิจของฝรั่งเศส


ฝรั่งเศสเป็นผู้นำทางเศรษฐกิจอันดับที่ 4 ของโลกรองจากสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่นและเยอรมัน ฝรั่งเศสอยู่ในอันดับเดียวกับสหราชอาณาจักร (ผลิตภัณฑ์มวลรวมฝรั่งเศสมีมูลค่ามากกว่าร้อยละ 5 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลก) การค้าต่างประเทศของฝรั่งเศสคิดเป็นมูลค่าร้อยละ 6 ของการค้าทั่วโลกมีผลทำให้ฝรั่งเศสเป็นประเทศที่มีความสำคัญด้านเศรษฐกิจเป็นอันดับแรกๆ
ฝรั่งเศสเป็นผู้ส่งออกอันดับที่ 4 ของโลก ทั้งยังเป็นผู้ส่งออกผลิตผลภาคเกษตรและภาคบริการอันดับที่ 2 และผู้ส่งออกผลิตผลด้านอุตสาหกรรมอันดับที่ 4 การส่งสินค้าออกของประเทศฝรั่งเศสคิดเป็นร้อยละ 21 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศซึ่งมีมูลค่าสูงมากเมื่อเทียบกับประเทศญี่ปุ่น (ร้อยละ 10) และสหรัฐอเมริกา (ร้อยละ 9)
เศรษฐกิจของฝรั่งเศสซึ่งขาดดุลมาเป็นเวลานานเริ่มได้เปรียบดุลทางการค้าตั้งแต่ปี 2535 การขายสินค้าประเภทต่างๆ ที่ทำให้ดุลการค้าของประเทศฝรั่งเศสปรับตัวขึ้นมีดังนี้
- การขายสินค้าในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานสร้างอากาศยาน เครื่องใช้สำนักงาน ชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และสินค้าด้านอุตสาหกรรม

- การขายสินค้าบริโภคทางการเกษตร

- สินค้ายุทโธปกรณ์

- สินค้าฟุ่มเฟือย

- เวชภัณฑ์และเคมีภัณฑ์
นอกจากนี้แล้ว ภาคบริการไม่ว่าจะเป็นการท่องเที่ยวหรือการเงิน ประเทศฝรั่งเศสได้เปรียบดุลประเทศ อื่นๆ เป็นอันมาก
โดยทั่วไปการขาดดุลของฝรั่งเศสเกิดขึ้นเนื่องจาก

- การซื้อสินค้าด้านพลังงาน

- การซื้อสินแร่

- การซื้ออาหารจากประเทศเขตร้อน

- การซื้อผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมบางประเภทอาทิเช่น สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม หนังฟอกและหนังดิบ รองเท้า ฯลฯ
ฝรั่งเศสเป็นประเทศที่ลงทุนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลกรองจากสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร บริษัททั้งหมด 16,000 แห่งทั่วโลกซึ่งมีผู้ถือหุ้นเป็นชาวฝรั่งเศสมีพนักงานทั้งหมด 2.6 ล้านคน สหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่ฝรั่งเศสเข้าไปลงทุนมากที่สุดมีจำนวนบริษัททั้งสิ้น 1,850 บริษัท และพนักงาน 370,000 คน ในขณะที่ประเทศเยอรมัน (1,100 บริษัท พนักงาน 224,000 คน) สหราชอาณาจักร (1,200 บริษัท พนักงาน 221,000 คน) และสเปน (1,000 บริษัท พนักงาน 218,000 คน) มีจำนวนบริษัทฝรั่งเศสและพนักงานมากพอๆ กัน
พนักงานเหล่านี้มีจำนวนมากที่สุดอยู่ในสหภาพยุโรปและคิดเป็นร้อยละ 45 ของพนักงานทั้งหมด ในประเทศที่กำลังพัฒนาถึงแม้ว่าการลงทุนของบริษัทฝรั่งเศสในบราซิลมีมากกว่าประเทศอื่นมาก แต่ในทางกลับกันการลงทุนของประเทศฝรั่งเศสในอเมริกาใต้กลับหยุดขยายตัว เช่นเดียวกับในแอฟริกาซึ่งฝรั่งเศสเข้าไปลงทุนมาเป็นเวลานานแล้ว ทั้งนี้ตรงกันข้ามกับการลงทุนในประเทศทวีปเอเชียซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
ฝรั่งเศสเป็นประเทศที่ต้อนรับนักลงทุนจากต่างประเทศอย่างเปิดกว้างเช่นเดียวกัน สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่เข้าไปลงทุนในฝรั่งเศสมากเป็นอันดับ 1 (และสร้างงานให้คนถึง 8,000 คนในปี 2544) รองจากประเทศดังกล่าวคือเยอรมันและสหราชอาณาจักร ในปี 2544 บริษัทจากประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปได้สร้างงานให้คนมากกว่า 13,000 คนซึ่งนับว่ามากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนการจ้างงานทั้งหมด อย่างไรก็ตามการลงทุนจากประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและสหภาพยุโรปลดลงถึงร้อยละ 30 ยิ่งไปกว่านั้นสถานการณ์การลงทุนของแต่ละประเทศแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง (เยอรมันลดการลงทุนถึงร้อยละ 51 และอิตาลีร้อยละ 52 ในขณะที่การลงทุนของเนเธอร์แลนด์เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 และสเปนร้อยละ 50)
จำนวนของการลงทุนรายใหญ่(ซึ่งมีการจ้างงานมากกว่า 500 คน)มีแนวโน้มว่าจะลดลง ในขณะที่จำนวนของการลงทุนรายย่อยซึ่งมีการจ้างงานเพียง 10-20 คนได้เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 30 สภาวการณ์นี้เป็นผลจากการชะลอตัวของการลงทุนมูลค่าสูงหลังจากความล้มเหลวของภาคเทคโนโลยีสมัยใหม่กอรปกับเหตุการณ์วันที่ 11 กันยายน ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา
ในขณะที่ตลาดด้านเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์และการสื่อสารชะลอการขยายตัวลงอย่างมาก การลงทุนธุรกิจแบบเก่าหลายประเภทอาทิเช่น ศูนย์วิจัย สำนักงานพาณิชย์ บริษัทดูแลขั้นตอนการผลิต ฯลฯ กลับมีจำนวนสูงขึ้น
ภาคธุรกิจที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดคืออุตสาหกรรมรถยนต์ สินค้าแปรรูป ส่วนประกอบ อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ไฟฟ้า และเครื่องมือทางการแพทย์และศัลยแพทย์
ในปี 2544 ส่วนต่างๆ ของประเทศฝรั่งเศสที่มีการลงทุนจากต่างประเทศมากที่สุดได้แก่ Ile-de-France, Nord-Pas-de Calais, Provence-Alpes-Côte-d’Azur และ Midi Pyrénées